ท้าวมะโหโรง
ท้าวสุรนารี มีนามเดิมว่า "โม" (แปลว่า ใหญ่มาก) หรือท้าวมะโหโรงเป็นชาวเมืองนครราชสีมาโดยกำเนิด เกิดเมื่อปีระกา พ.ศ. 2314 มีนิวาสถานอยู่ ณ บ้านตรงกันข้ามกับวัดพระนารายณ์มหาราช (วัดกลางนคร) ทางทิศใต้ของเมืองนครราชสีมา เป็นธิดาของนายกิ่มและนางบุญมา มีพี่สาวหนึ่งคนชื่อ แป้นาผล ไม่มีสามี จึงอยู่ด้วยกันจนวายชนม์ มีน้องชายหนึ่งคน ชื่อ จุก (ภายหลังได้เป็นเจ้าเมืองพนมซร็อก ต่อมามีการอพยพชาวเมืองพนมซร็อกมาอยู่ริมคูเมืองนครราชสีมาด้านใต้ จึงเอาชื่อเมืองพนมซร็อกมาตั้งชื่อ บ้านพนมศรก ต่อมาเรียกเพี้ยนเป็นบ้านสก อยู่หลังสถานีรถไฟชุมทางถนนจิระจนทุกวันนี้)
ประตูเมืองทางทิศตะวันตกของเขตเมืองเก่า เป็นประตูเมืองเพียงแห่งเดียว ในบรรดาประตูเมืองทั้งหมด 4 ประตูของเมืองนครราชสีมา ที่ยังคงสภาพเดิมอยู่พร้อมกำแพงเมืองเก่า สำหรับ ชื่อประตู "ชุมพล" นั้นหมายความถึง ที่ชุมนุมพลส่วนใหญ่ เป็นประตูสำหรับเตรียมไพร่พล และออกศึก เนื่องจากมีภูมิประเทศเปิดกว้าง ไม่มีป้อมปราการตามธรรมชาติเหมือนประตูอื่น ๆ ในอดีตมีความเชื่อว่า เมื่อลอดผ่านประตูชุมพลไปทำศึกแล้ว จะแคล้วคลาดได้กลับบ้านเมือง
อนึ่ง ประตูชุมพล ทางกรมศิลปากร ได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณวัตถุสถานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 และ กำแพงเมืองโคราช ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณวัตถุสถานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2479 อีกด้วย
เครดิตข้อมูลจาก https://th.wikipedia.org/wiki/ระตูเมืองนครราชสีมา#ประตูชุมพล
เครดิตข้อมูลดีจาก : https://th.wikipedia.org/wiki/ท้าวสุรนารี
บริเวณรอบคูเมืองเก่าใกล้ๆลานท้าวสุรนารี
นอกจากนี้ยังมีการแก้บนของผู้ที่มาสักการะท้าวย่าโม ด้วยการร้องเพลงเป็นภาษาโคราชให้ได้ฟังกันอีกด้วยล่ะ
สาระเกี่ยวกับเพลงโคราช อ่านดูเป็นความรู้จ้า
เนื่องจากเพลงโคราชเป็นวัฒนธรรมมุขบาฐเรื่องราวความเป็นมาต่างๆ ที่เกี่ยวกับเพลงโคราช จึงถูกถ่ายทอดด้วยวิธีปากต่อปากและการสังเกตการจดจำ จากครูเพลงถึงลูกศิษย์ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เพลงโคราชกล่าวกันว่าเป็นที่นิยมเล่นตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ต่อมาเมื่อมีการสร้างอนุสาวรีย์ท้าวย่าโมขึ้น จึงได้ให้มีงานฉลองชัยชนะท้าวสุรนารี เพลงโคราชได้มีโอกาสเล่นในงานฉลองตั้งแต่ปี พ.ศ.2477 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน และประชาชนต่างๆมีความเชื่อมันกันว่าท้าวสุรนารีในสมัยที่มีชีวิตอยู่นั้นท่านชอบเพลงโคราชเป็นอย่างมาก จึงมีการแสดงเพลงโคราชแก้บนที่บริเวณลานอนุสาวรีย์และวัดศาลาลอยดังที่พบเห็นได้ในปัจจุบัน และปรากฎที่มาของเพลงโคราชว่าที่กำเนิดมาจากตำนานเพลงโคราช 2 ตำนานซึ่งเป็นที่รู้จักกันในกลุ่มของหมอเพลง
และหลังจากที่ได้สักการะท้าวสุรนารีแล้วนะคะ
จากนั้นดิฉันก็แว๊นๆขับมอเตอร์ไซต์เริ่ดสะแมนแตนมาทำทาน ร่วมบริจาคทรัพย์ที่มูลนิธิสงเคราะห์ผู้สูงอายุโพธิ์กลาง ซึ่งอยู่ในตัวเมืองโคราช
ใหนๆก็แวะมาโคราชทั้งที ก็มาสะสมเสบียงบุญด้วยการสละทรัพย์ทำทานเป็นสิ่งที่ดีที่สุดค่ะ
และไม่ไกลจากมูลนิธิผู้สูงอายุโพธิ์กลาง ดิฉันก็ขับมอเตอร์ไซต์มาร่วมบริจาคทรัพย์ สละอัตตาหิอัตโนนาโถมาต่อที่สถานสงเคราะห์คนชราบ้านธรรปกรณ์ วัดม่วง ซึ่งอยู่ในตัวเมืองโคราชเช่นเดียวค่ะ
หากเพื่อนๆหรือคุณผู้อ่านท่านที่ตั้งใจแวะมาเที่ยวเมืองโคราช อยากจะทำบุญทำทาน ก็สามารถแวะมาร่วมบริจาคสิ่งของที่จำเป็นกันได้ค่ะ
ากันว่าหากอยากทานโดนัทเมืองย่า จะต้องซื้อช่วงรถติดไฟแดงเท่านั้น เพราะจะมีคนแบกถุงขนมและพวงมาลัยมาขายคู่กัน โดยขายถุงละ 20 บาท ดูแล้วคล้ายๆกับการขายขนมกล้วยช่วงรถติดที่ถนนหลานหลวงในกรุงเทพเลยนะค่ะ
ได้ลิ้มลองรสชาติของโดนัทที่นี้ ถือว่ารสชาติอร่อยทีเดียวค่ะ สงสัยว่าเดี๊ยนจะไม่ได้ทานโดนัทมานานด้วยกระมัง ก็เลยไม่รู้รสของโดนัทเลยว่าเป็นอย่างไร แต่ของเค้าอร่อยดี สมคำล่ำลือจริงๆ เห็นทีขากลับต้องแวะซื้อเพิ่มอีกหนึ่งถุงแล้วล่ะค่ะ
หลังจากนั้นก็เดินทางขับมอเตอร์ไซต์แว๊นๆมาทำบุญต่อที่วัดศาลาลอย ซึ่งเป็นวัดเก่าแก่ที่มีชื่อเสียงที่สุดอีกแห่งในเมืองโคราช
เกี่ยวกับวัดศาลาลอย อ่านกันดูเป็นความรู้จ้า
ที่มา https://khunnaiver.blogspot.com
ประตูชุมพล |
อนึ่ง ประตูชุมพล ทางกรมศิลปากร ได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณวัตถุสถานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 และ กำแพงเมืองโคราช ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณวัตถุสถานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2479 อีกด้วย
เครดิตข้อมูลจาก https://th.wikipedia.org/wiki/ระตูเมืองนครราชสีมา#ประตูชุมพล
เครดิตข้อมูลดีจาก : https://th.wikipedia.org/wiki/ท้าวสุรนารี
บริเวณรอบคูเมืองเก่าใกล้ๆลานท้าวสุรนารี
การร้องเพลงโคราชที่สืบทอดจากอดีตมาจนถึงปัจจุบัน |
สาระเกี่ยวกับเพลงโคราช อ่านเป็นความรู้กันจ้า |
เนื่องจากเพลงโคราชเป็นวัฒนธรรมมุขบาฐเรื่องราวความเป็นมาต่างๆ ที่เกี่ยวกับเพลงโคราช จึงถูกถ่ายทอดด้วยวิธีปากต่อปากและการสังเกตการจดจำ จากครูเพลงถึงลูกศิษย์ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เพลงโคราชกล่าวกันว่าเป็นที่นิยมเล่นตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ต่อมาเมื่อมีการสร้างอนุสาวรีย์ท้าวย่าโมขึ้น จึงได้ให้มีงานฉลองชัยชนะท้าวสุรนารี เพลงโคราชได้มีโอกาสเล่นในงานฉลองตั้งแต่ปี พ.ศ.2477 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน และประชาชนต่างๆมีความเชื่อมันกันว่าท้าวสุรนารีในสมัยที่มีชีวิตอยู่นั้นท่านชอบเพลงโคราชเป็นอย่างมาก จึงมีการแสดงเพลงโคราชแก้บนที่บริเวณลานอนุสาวรีย์และวัดศาลาลอยดังที่พบเห็นได้ในปัจจุบัน และปรากฎที่มาของเพลงโคราชว่าที่กำเนิดมาจากตำนานเพลงโคราช 2 ตำนานซึ่งเป็นที่รู้จักกันในกลุ่มของหมอเพลง
ร่วมบริจาคทรัพย์ที่มูลนิธิสงเคราะห์ผู้สูงอายุโพธิ์กลาง |
จากนั้นดิฉันก็แว๊นๆขับมอเตอร์ไซต์เริ่ดสะแมนแตนมาทำทาน ร่วมบริจาคทรัพย์ที่มูลนิธิสงเคราะห์ผู้สูงอายุโพธิ์กลาง ซึ่งอยู่ในตัวเมืองโคราช
ร่วมบริจาคทรัพย์ที่มูลนิธิสงเคราะห์ผู้สูงอายุโพธิ์กลาง |
ดิฉันก็ขับมอเตอร์ไซต์มาร่วมบริจาคทรัพย์ สละอัตตาหิอัตโนนาโถ มาต่อที่สถานสงเคราะห์คนชราบ้านธรรปกรณ์ วัดม่วง |
หากเพื่อนๆหรือคุณผู้อ่านท่านที่ตั้งใจแวะมาเที่ยวเมืองโคราช อยากจะทำบุญทำทาน ก็สามารถแวะมาร่วมบริจาคสิ่งของที่จำเป็นกันได้ค่ะ
และหลังจากที่ได้ทำทานด้วยการร่วมบริจาคทรัพย์ช่วยเหลือมูลนิธิผู้สูงอายุทั้ง 2 แห่งแล้วนะค่ะ ดิฉันขับมอเตอร์ไซต์แว๊นๆไปยังจุดหมายถัดไป นั้นก็คือวัดศาลาลอย ซึ่งเป็นวัดเก่าแก่ในเมืองโคราช ที่ใครก็ต้องแวะมากราบสักการะและร่วมทำบุญกัน
ระหว่างขับรถมอเตอร์ไซต์จะไปที่วัดศาลาลอย รถติดที่สามแยกประตูน้ำพอดี ดิฉันเลยขอมาอุดหนุนลิ้มลองซื้อโดนัทเมืองย่าโมสักหน่อยสิขนมโดนัทเมืองย่า |
ได้ลิ้มลองรสชาติของโดนัทที่นี้ ถือว่ารสชาติอร่อยทีเดียวค่ะ สงสัยว่าเดี๊ยนจะไม่ได้ทานโดนัทมานานด้วยกระมัง ก็เลยไม่รู้รสของโดนัทเลยว่าเป็นอย่างไร แต่ของเค้าอร่อยดี สมคำล่ำลือจริงๆ เห็นทีขากลับต้องแวะซื้อเพิ่มอีกหนึ่งถุงแล้วล่ะค่ะ
หลังจากนั้นก็เดินทางขับมอเตอร์ไซต์แว๊นๆมาทำบุญต่อที่วัดศาลาลอย ซึ่งเป็นวัดเก่าแก่ที่มีชื่อเสียงที่สุดอีกแห่งในเมืองโคราช
เกี่ยวกับวัดศาลาลอย อ่านกันดูเป็นความรู้จ้า
ที่มา https://khunnaiver.blogspot.com
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น